วันพุธที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2559

PASSIVE VOICE

Active Voice กับ Passive Voice คืออะไร

ได้ยินคำเหล่านี้แล้วอย่าเพิ่งงงนะครับ มันเป็นแค่ชื่อเรียกเท่านั้น จุดมุ่งหมายที่แท้จริงคือการมาเรียนรู้โครงสร้างของประโยค ว่ามันมีความหมายว่าอย่างไร แตกต่างจากโครงสร้างของภาษาเราอย่างไร
สองคำนี้เป็นชื่อเรียกประโยคในภาษาอังกฤษที่มีความแตกต่างกันสองชนิดดังนี้
Active Voice หมายถึงประโยคที่ประธานเป็นผู้กระทำ  (ใคร ทำอะไร) เช่น
Thai people eat rice. คนไทยกินข้าว (ประธานคือ คนไทย)
Passive Voice หมายถึงประโยคที่ป อ่านเพิ่มเติม

Past Continuous Tense

หลักการใช้ Past Continuous Tense ถือว่าค่อนข้างซับซ้อนนิดหนึ่งตรงที่ถ้ามีสองเหตุการณ์ในอดีตซ้อนกันอยู่ ซึ่งผู้เรียนต้องจดจำให้ได้ว่าสองเหตุการณ์ที่ว่านั้น เหตุการณ์ไหนใช้ tense อะไร และมีข้อสังเกตอย่างไร
Past Continuous Tense (Tense อดีตกำลังทำ)
Past  พาสท= อดีต
Continuous คอนทินิวอัส = ต่อเนื่อง
คำว่า was, were คือ ช่องที่ 2 ของ verb to be (is, am, are)
was อ่านว่า เวิส มาจาก is
were อ่านว่า เวอ ม อ่านเพิ่มเติม

PRESENT CONTINUOUS TENSE

Present Continuous Tense (Tense ปัจจุบันกำลังทำ)

Present  เพร๊เซินท= ปัจจุบัน

Continuous คอนทินิวอัส = ต่อเนื่อง

หลักการใช้

การย่อรูปกริยา คลิกศึกษาเรื่อง is am are
1. ใช้กล่าวเหตุการณ์ที่กำลังเกิดขึ้นขณะที่พูดอยู่ หรือในระหว่างอาทิตย์นั้น เดือนนั้นก็ได้ ซึ่งอาจจะมีคำเหล่านี้อยู่ด้วยก็ได้

now / right now  ตอนนี้
at the moment  ตอนนี้

หลักการแปล ให้แปลรวบ is am are กับกริยาที่เ อ่านเพิ่มเติม

Past Simple Tense

Past Simple Tense (Tense อดีตธรรมดา)
Past  พาสท= อดีต
Simple  ซิ๊มเพิล = ธรรมดา

 หลักการใช้

Past Simple Tense ถือว่าง่ายที่สุดเลยเพราะประธานทุกตัวใช้กริยาช่องสองเหมือนกัน (เว้น was ใช้กับประธานเอกพจน์, were ใช้กับประธานพหูพจน์) ให้จำหลักสำคัญของ Tense นี้ไว้ว่า เป็นการเล่าเรื่องราวที่เกิดขึ้นในอดีต และก็จบลงไปแล้วด้วย ไม่เกี่ยวข้องกับปัจจุบัน
1. ใช้เล่าเหตุการณ์ในอดีต ที่จะระบุเวลากำกับ หรือรู้กันดีว่ามันเกิดในอดีตนะ
  • เล่าเหตุการณ์ที่มีเวลากำกับ คำกำกับเวลาที่พบบ่อย ได้แก่
    – yesterday  เย็สเตอเด  เมื่อวาน
    – last + เ  อ่านเพิ่มเติม

Adverb

Adverb of Manner คือ คำที่ใช้อธิบายลักษณะ ท่าทาง อาการ
• You are beautifully dressed.
คุณแต่งตัวได้อย่างสวยงาม (ขยายว่าแต่งตัวเป็นอย่างไร)
• The story ends happily.
เรื่องราวจบลงอย่างมีความสุข (ขยายว่าเรื่องราวจบลงอย่างไร)
• He speaks slowly.
เขาพูดอย่างช้าๆ (ขยายว่าเขาพูดอย่างไร)
** ส่วนมาก Adverb กลุ่มนี้จะบอกว่า อย่างไร หรือพบได้บ่อยสำหรับการตอบคำถาม How
2. Adverb of Place คือ คำที่ใช้บอกสถานที่ หรือคำที่ให้ความหมายเกี่ยวกับสถานที่
• I’m just looking around.
ฉันแค่มองไปรอบๆ (ขยายว่ามองไปที่ไหน)
• I wish you were here with me now.
ฉันอยากให้คุณอยู่กับฉันที่นี่ตอนนี้จัง (ขยายว่าอยากให้อยู่ที่ไ อ่านเพิ่มเติม

ADJECTIVES

มาดูเคล็ดลับภาษาอังกฤษพื้นฐาน เรื่องการใช้ Adjectives (Adj.) และ Adverbs (Adv.)ที่หลายคนคิดว่าง่ายๆและมองข้ามไปหรือหลายคนอาจจะยังไม่เข้าใจซะทีเดียว ดังนั้น เรามาทำความเข้าใจ เคล็ด (ไม่) ลับกับ การใช้ Adjectives และ Adverbs
พูดถึง Adjectives ตัวอย่างภาษาไทยเ อ่านเพิ่มติม

การเปรียบเทียบคำคุณศัพท์ ( COMPARISON OF ADJECTIVES )

การเปรียบเทียบคำคุณศัพท์ ( Comparison of Adjectives ) เป็นการเปรียบเทียบคำคุณศัพท์ที่ไปแสดงคุณภาพของนามเพื่อจะบอกให้รู้ว่านามนั้นมีลักษณะ เท่าเทียมกันหรือไม่ อย่างไร แบ่งออกเป็น 3 ขั้น คือ การเปรียบเทียบขั้นปกติ ( Positive Degree ) ใช้เปรียบเทียบความเท่าเทียมกัน ไม่เท่าเทียมกัน เช่น long, short, small , big , fast, slow เป็นต้น การเปรียบเทียบขั้นกว่า ( Comparative Degree ) ใช้เปรียบเทียบกับนาม 2 จำนวน เช่น longer, shorter, smaller, bigger , faster, slower เป็นต้น การเปรียบเทียบขั้นสูงสุด ( Superlative Degree ) ใช้เปรียบเทียบกับนามที่มีจำนวนตั้งแต่ 3 ขึ้นไป เช่น longest, shortest, smallest, biggest เป็นต้น
  1. การเปรียบเทียบขั้นปกติ ( Positive Degree ) มีตัวเชื่อมหลายรูปแบบดังต่อไปนี้ รูปแบบ as+ คุณศัพท์ขั้นปกติ ( positive degree) + as แสดงความ เท่าเทียมกัน เช่น This pencil is as long as that one.   ดินสอแท่งนี้ยาวเท่าๆกับแท่งนั้น รูปแบบ as + much หรือ many + นาม + as แ
อ่านเพิ่มเติมได้ที่ : http://www.kroobannok.com/703 อ่านเพิ่มเติม

หลักการใช้ PRESENT SIMPLE

โครงสร้าง

S + V1 (ประธานเอกพจน์ กริยาเติม s,es)
ประธาน + กริยาช่องที่ 1 (ถ้าประธานเป็นเอกพจน์ กริยาต้องเติม s หรือ es แล้วแต่กรณี)
S + กริยาช่วย + V1
ประธาน + กริยาช่วย + กริยาช่องที่ 1 (ไม่ต้องเติม s ทุกกรณี)
กริยาช่วยที่ใช้บ่อยคือ can, should, must
Tense นี้ค่อนข้างจะยุ่งยากนิดหน่อยตรงที่ประธานเอกพจน์ต้องเติม s ส่วนประธานพหูพจน์ไม่ต้องเติม สิ่งที่จะสร้างความยุ่งยากนิดหนึ่งคือการเติม s เพราะกริยาบางตัวต้องเติม es ไม่ใช่แค่ s เฉยๆ แต่ไม่ใช่เรื่องยากถ้าได้ศึกษาการเติม s ที่้ท้ายคำนามเพื่อให้นามนั้นเป็นพหูพจน์

หลักการใช้

ในหนังสืออาจจะบอกไว้หลายข้อ แต่ให้ผู้เรียนจำไว้แค่ 2 ข้อ คือ จริงและวัตร
1. จริง คือ ข้อเท็จจริงทั่วไป ซึ่งเป็นการบอ อ่านเพิ่มเติม

หลักการใช้ GERUND

Gerund คือ คำกริยา + ing หรือ v-ing
    Gerund มีรูปร่างหน้าตาเหมือนกับ present participle แต่ทำหน้าที่ต่างกัน นั่นคือ present participle ทำหน้าที่เป็น ‘predicative adjunct’ และ ‘คุณศัพท์’ ส่วน
gerund ทำหน้าที่เป็น ‘คำนาม’
    เมื่อ gerund เป็น ‘คำนาม’ gerund จึงทำหน้าที่ได้ดังต่อไปนี้
    1. ใช้เป็นประธานของประโยค

    2. ใช้เป็นกรรมของบุพบท

    3. ใช้เป็นกรรมของคำกริยา vt

    4. ใช้ตามหลัง verb to be เพื่อแสดงตัวตนของประธาน (subjective comple-ment)
 
1. การใช้ gerund เป็นประธานของประโยค
    การใช้ gerund เป็นประธานของประโยคนี้ เราสามารถสร้างเองได้ โดยการนำคำ
กริยาที่ไม่ต้องมีกรรมมารองรับหรือที่ต้องมีกรรมมารองรับคำใดก็ได้มาทำเป็น gerund
โดยการเติม –ing เ
อ่านเพิ่มเติม

การใช้ INFINITIVE ในภาษาอังกฤษ

Infinitive นี้คือคำกริยารูปปกติ (กริยาช่อง 1) ซึ่งในภาษาอังกฤษนี้เราสามารถแบ่ง infinitive ออกได้เป็นสองประเภทดังนี้
1. Infinitive with to – กริยาช่อง 1ที่นำหน้าด้วย to
2. Infinitive without to – กริยาช่อง 1ที่ไม่มี to นำหน้า
เราลองมาทำความเข้าใจว่า Infinitive แต่ละชนิดนั้นมีหลักการใช้อย่างไรนะครับ
Infinitive with to (กริยาช่อง 1 ที่นำหน้าด้วย to) มีหน้าที่ และวิธีใช้ดังนี้
1. เป็นคำนามทำหน้าที่เป็นประธานของประโยค
To watch English movies is a good way to learn English.
(การดูหนังภาษาอังกฤษเป็นวิธีการที่ดีในการเรียนภาษาอังกฤษ)